Ultima Life

Ultima Life
2 ตัวจ่ายบาทละ 92 เต็งจ่ายบาทละ 800 แทงง่าย จ่ายไว เล่นได้ทุกวัน ดีจริง ๆ เลย มีทั้งหวยรัฐบาล หวยหุ้น หวยต่างประเทศ จับยี่กี ฯลฯ

ความสำคัญ และที่มาของปัญหาแรงงานต่างด้าว

ความสำคัญ และที่มาของปัญหาแรงงานต่างด้าว

จากตวัเลขประมาณการในปี พ.ศ. 2553 แรงงานต่างด้าวในประเทศไทย ทั้งที่ถูกกฎหมายและ ผิดกฎหมายมีอยู่ประมาณ 2-2.5 ลา้นคน คิดเป็นร้อยละ 6 ของก าลังแรงงานไทยทั้งหมด หรือร้อยละ 10 ของก าลังแรงงานไทยที่มีการศึกษาระดับประถมศึกษาหรือต ่ากว่า และมีแนวโน้มสูงขึ้นเรื่อยๆ  จากการส ารวจความคิดเห็นของคนไทยจา นวน 4,148 คน โดยมหาวิทยาลยัอสัสัมชญัใน ปลายปี พ.ศ. 2549 พบว่า ร้อยละ 59 ของประชากรไทย มีความเห็นว่า รัฐบาลไทยไม่ควรอนุญาตให้ แรงงานต่างด้าวเข้ามาท างานในประเทศไทย มีเพียงร้อยละ 10 เท่านั้นที่เห็นว่า รัฐบาลควรเพิ่มจ านวน แรงงานต่างด้าวในประเทศไทย และร้อยละ 83 เชื่อว่า การเข้ามาท างานของแรงงานต่างด้าวใน ประเทศไทยมีผลให้อัตราค่าจ้างของแรงงานไทยลดต ่าลง นอกจากนี้ ยังมีความกังวลในเรื่องปัญหา ความปลอดภัยและความมั่นคงในประเทศ บ้างก็เห็นว่าแรงงานต่างด้าวเป็นภาระในเรื่องการคลัง โดยเฉพาะอย่างยิ่งการเข้ามาใช้บริการทางสาธารณสุข  บ้างก็กังวลถึงผลในระยะยาวในเรื่องลูกหลาน ของแรงงานต่างด้าวที่เกิดและโตในแผ่นดินไทยที่ต้องเข้าโรงเรียนและรับการดูแลทางสาธารณสุขขั้น พื้นฐานอื่นๆ และมีผลต่อจ านวนประชากรต่างด้าวให้เพิ่มสูงขึ้นเรื่อยๆ อีกด้วย ซึ่งที่ผ่านมารัฐบาลยัง ไม่มีนโยบายในเรื่องนี้อย่างชัดเจนว่าควรจะกีดกันหรือควรเปิดเสรีเรื่องแรงงานต่างด้าว อีกทั้งงาน ศึกษาในเรื่องนี้ยังมีอยู่จ านวนน้อยมาก
ปัญหาที่ควรศึกษาอย่างเร่งด่วน คือ ผลกระทบของแรงงานต่างด้าวต่อเศรษฐกิจไทย โดยเฉพาะอย่างยิ่งต่อตลาดแรงงานไทย ตามทฤษฎีเศรษฐศาสตร์หากแรงงานต่างด้าวและแรงงานไทย มีคุณลักษณะเหมือนกันและสามารถทดแทนกันได้ในการผลิต การเพิ่มขึ้นของแรงงานต่างด้าวย่อมมี ผลให้ค่าจ้างแรงงานลดต ่าลงตามหลักอุปสงค์อุปทาน แต่ทฤษฎีนี้ตั้งอยู่บนสมมติฐาน 3 ขอ้หลกัๆ  คือ แรงงานไทยและแรงงานต่างด้าวมีคุณลักษณะเหมือนกันทุกประการ แรงงานไทยไม่สามารถ เคลื่อนย้ายไปยังพื้นที่อื่นๆได้ และผู้ผลิตไม่เปลี่ยนแปลงการผลิต ทั้งในเรื่องการใช้เทคโนโลยีและ ปัจจัยการผลิตตลอดจนชนิดของสินค้าที่ผลิต แต่ในความเป็นจริงอาจมิเป็นเช่นนั้น แรงงานต่างด้าว ส่วนใหญ่มีการศึกษาน้อย ในขณะที่แรงงานไทยมีการศึกษาสูงขึ้น แรงงานต่างด้าวส่วนใหญ่ท างาน เกษตรกรรม ประมง และก่อสร้าง ซึ่งเป็นงานที่คนไทยไม่ท าแล้วในปัจจุบัน นอกจากนี้ แรงงานไทย อาจย้ายไปท างานที่อื่นได้ เช่น ในกรุงเทพ หรือต่างประเทศ รวมทั้งผู้ประกอบการอาจเปลี่ยนแปลง การผลิต โดยหันไปผลิตสินค้าที่ใช้แรงงานเข้มข้นมากขึ้นเพื่อได้รับประโยชน์จากค่าจ้างแรงงานที่ ต ่าลงก็เป็นได้ บทความนี้จะศึกษาว่าการเข้ามาของแรงงานต่างด้าวมีผลให้แรงงานไทยย้ายออกหรือไม่ โดย มีสมมติฐานว่า จังหวัดที่มีแรงงานต่างด้าวอยู่หนาแน่นจะมีแรงงานไทยย้ายออกจากจังหวัดมากกว่า จังหวัดที่มีแรงงานต่างด้าวอยู่เบาบาง นอกจากนี้ จะศึกษาด้วยว่าการเข้ามาของแรงงานต่างด้าวมี ผลกระทบอย่างไรต่อโครงสร้างการผลิตและการจ้างงาน โดยมีสมมติฐานว่า จังหวัดที่มีแรงงานต่าง ด้าวอยู่หนาแน่นจะมีสัดส่วนการผลิตของภาคเกษตรกรรมสูงกว่าและภาคอุตสาหกรรมต ่ากว่าจังหวัด ที่มีแรงงานต่างด้าวอยู่เบาบาง ซึ่งหากพบว่า แรงงานต่างด้าวมีผลให้แรงงานไทยอพยพย้ายออกจาก พื้นที่ หรือมีผลให้โครงสร้างการผลิตและการจ้างงานมีสัดส่วนการผลิตสินคา้ภาคเกษตรกรรมสูงก็จะ สนบัสนุนผลของ Kulkolkarn & Potipiti (2007) ที่ไม่พบผลกระทบทางลบของแรงงานต่างด้าวต่อค่าจ้างแรงงานไทยโดยเฉลี่ย เนื่องจากการปรับตัวดังกล่าวส่งผลลดแรงกดดันทางลบของแรงงงานต่างด้าวต่อค่าจ้างแรงงานไทย 
 

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น